Kriang Stative/non-Dynamic Clauses and Standard Negation

Alternative Titles: 
อนุพากย์แสดงเหตุการณ์ทรงสภาพและคาปฏิเสธมาตรฐานของภาษาเกรียง
Issue Date: 
2018-02-09
Is Part Of Series: 
Proceedings of the Payap University Research Symposium 2018
Extent: 
pages 633-642
Abstract: 
ไวยากรณ์ภาษาเกรียง (ออสโตรเอเชียติก, กะตูอิก, ลาว) ที่ใช้สาหรับอนุพากย์แสดงเหตุการณ์ทรงสภาพคืออะไร? อนุพากย์แสดงเหตุการณ์พลวัตในภาษาเกรียงมีรูปแบบ SV/AVP (ประธาน กริยา กรรม) ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของภาษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ผู้กระทา (ประธาน) กริยา ผู้ถูกกระทา (กรรม) (Tehan 2017) ภาษาเกรียงมีการลาดับคาที่เหมือนกับภาษาออสโตรเอเชียติกส่วนมากสาหรับอนุพากย์ประเภทนี้ โดยโครงสร้างของอนุพากย์ที่ไม่เป็นไปตามแบบแผนได้อธิบายไว้ในการศึกษานี้ ดังต่อไปนี้ อนุพากย์แสดงคุณลักษณะของภาษาเกรียงใช้โครงสร้าง [ประธาน ภาคแสดงที่เป็นคุณศัพท์] โดยไม่ใช้คาเชื่อม อนุพากย์ที่แสดงสิ่งที่เท่าเทียมกัน สถานที่ และการมีอยู่ ใช้คาเชื่อมที่แตกต่างกัน อนุพากย์แสดงการมีอยู่และอนุพากย์แสดงความเป็นเจ้าของใช้คาเชื่อม (หรือคากริยา) ตัวเดียวกัน มีคาปฏิเสธตัวเดียวที่ได้รับการบ่งชี้ อนุพากย์แสดงเหตุการณ์สามารถทาให้เป็นปฏิเสธได้โดยการใช้คาว่า “ไม่” ก่อให้เกิดโครงสร้าง ประธาน ปฏิเสธ กริยา และ ผู้กระทา ปฏิเสธ กริยา ผู้ถูกกระทา อนุพากย์แสดงคุณลักษณะใช้คาปฏิเสธ ɲĕ̤ʔ “ไม่” ทันทีก่อนภาคแสดง อนุพากย์แสดงความเท่าเทียมกันใช้คาปฏิเสธทันทีก่อนคาเชื่อม อนุพากย์แสดงการมีอยู่และอนุพากย์แสดงความเป็นเจ้าของเชิงปฏิเสธใช้คากริยาที่แตกต่างกันกับคาที่ใช้ในอนุพากย์เชิงบอกเล่า
What are the syntactic structures that Kriang (Austroasiatic, Katuic, S. Laos) uses for non-dynamic clauses? Kriang’s dynamic clauses follow an SV/AVP (SVO) pattern typical of SE Asia, i.e. Agent (Subject) Verb Patient (Object) (Tehan 2017). Kriang follows the most typical Austroasiatic word orders for these types of clauses Jenny, Weber & Weymuth (2015, pp. 57-59). The structures of the non-verbal (i.e. non-dynamic, stative, somewhat atypical) clauses described in this paper are as follows. The Kriang attributive clause has the structure Subject Attributive-Predicate [S Attrib]; no copula is used. The Kriang equative, locative and existential clauses each use different copulas, kəːt ‘be’, ʔăt ‘be.at’ and wi̤ː ‘exist’ respectively. Existential clauses and possessive clauses use the same copula (or verb) kəːt. Only one negator has been identified so far. Event clauses can be negated with the particle ɲĕ̤ʔ ‘not’ resulting in the structures Intransitive-Subject Negative Verb [S NEG V] and Transitive-Subject Negative Verb Object [A NEG V P]. An attributive clause places the negator ɲĕ̤ʔ ‘not’ immediately before the predicate. The equative clause places the negator immediately before the copula. Negative existential and possessive clauses use a different verb than their positive counterparts.
Publication Status: 
Published
Country: 
Laos
Subject Languages: 
Content Language: 
Scripts: 
Field: 
Work Type: 
Nature of Work: 
Entry Number: 
78562